แนวทางการปกป้องเครื่องใช้ไฟฟ้าจากปัญหาฟ้าผ่า แรงดันสูงชั่วขณะ

Last updated: 26 มิ.ย. 2562  |  7102 จำนวนผู้เข้าชม  | 

แนวทางการปกป้องเครื่องใช้ไฟฟ้าจากปัญหาฟ้าผ่า แรงดันสูงชั่วขณะ

แนวทางการปกป้องเครื่องใช้ไฟฟ้าจากปัญหาฟ้าผ่า แรงดันสูงชั่วขณะ

1. ติดตั้งเสาล่อฟ้า (Air Terminals) และสายนำลงดิน (Downconductors): เพื่อป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่าโดยตรง ที่สามารถทำความเสียหายแก่โครงสร้างอาคารได้

2. ติดตั้งระบบกราวด์สายดิน และระบบกราวด์สมดุล: เพื่อกระจายพลังงานจากแรงดันไฟกระชากสูงจากฟ้าผ่าลงสู่ดิน และสร้างระบบกราวด์สมดุลเพื่อป้องกันกราวด์ไหลวน

3. ติดตั้ง AC Surge Protector: เพื่อป้องกันเครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็คทรอนิคส์จาก Surge ที่เข้ามาทางสาย AC Power 

     ติดตั้ง LS-series ใน Location Category C1,C2 หรือ B1,B2,B3 หรือ A1,A2,A3 สำหรับ
     - ระบบจ่ายไฟฟ้าขาเข้า หรือ แผงจ่ายไฟหลัก (MDB)

     - ระบบจ่ายไฟฟ้าย่อย, ตู้ควบคุมหลัก, ตู้ควบคุมย่อย หรือห้องเซิร์ฟเวอร์

     ติดตั้ง TPS-series ใน Location B1 หรือ A1,A2,A3 สำหรับ

     - ระบบจ่ายไฟเฉพาะจุดภายในอาคาร หรือเฉพาะอุปกรณ์ไฟฟ้านั้นๆ

4. ติดตั้ง Signal Surge Protector: เพื่อป้องกันฟ้าผ่าที่เข้ามาทางสายสัญญาณต่างๆ อาทิเช่น สาย LAN, ADSL เป็นต้น

     ติดตั้ง TPS-series ใน Location B1 หรือ A1,A2,A3 สำหรับ

     - ระบบจ่ายไฟเฉพาะจุดภายในอาคาร หรือเฉพาะอุปกรณ์ไฟฟ้านั้นๆ


Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้